• 02-441-0201-4 ต่อ 426 หรือ 536
  • happyuniversity.th@gmail.com
  • สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

  • flag   TH
logo logo
  • หน้าหลัก
  • ภาคีเครือข่าย
  • เกี่ยวกับเรา
    • เกี่ยวกับโครงการ
    • เปิดเส้นทาง HAPPY UNIVERSITY
    • ภาคีเครือข่าย
    • บุคลากรของเรา
  • ข่าว
  • ผลผลิตของเรา
    • บทความ
    • โปสเตอร์
    • วิดีโอ
    • สื่อสิ่งพิมพ์
    • นิทรรศการ
  • ฐานข้อมูล
    • ฐาน 1 การผลักดันมหาวิทยาลัยแห่งความสุขเป็นนโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
    • ฐาน 2 การสำรวจมหาวิทยาลัยแห่งความสุขของประเทศไทย
    • ฐาน 3 การพัฒนาศักยภาพและทักษะ
    • ฐาน 4 การขยายผลการสร้างเสริมสุขภาพมหาวิทยาลัยแห่งความสุขของประเทศไทย
    • ฐาน 5 การสื่อสารและเผยแพร่มหาวิทยาลัยแห่งความสุขสู่สาธารณะ
  • ติดต่อเรา
ฐานข้อมูล Database

ฐาน 2
การสำรวจมหาวิทยาลัยแห่งความสุขของประเทศไทย

01

2.1 ฐานข้อมูลบุคลากรและนิสิต-นักศึกษา

02

2.2 ภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัยแห่งความสุข

03

2.3 รายชื่อมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมตอบแบบสำรวจ

04

2.4 ระยะเวลาการสำรวจในแต่ละรอบ

05

2.5 เครื่องมือที่ใช้สำรวจ HAPPINOMETER

06

2.6 คู่มือสำหรับผู้ใช้งานฐานข้อมูล

Image

โครงการศูนย์วิชาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุขกับการสร้างเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน
(Happy University Academic Centre towards Sustainable Health Promotion)

All rights reserved

ติดต่อ

  • สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

    มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170

  • Email
    happyuniversity.th@gmail.com
  • Phone
    02-441-0201-4 ต่อ 426 หรือ 536
2.1 ฐานข้อมูลบุคลากรและนิสิต-นักศึกษา
2.2 ภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัยแห่งความสุข
2.3 รายชื่อมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมตอบแบบสำรวจ

ข้อมูล ณ วันที่ 2 มกราคม 2567 

กลุ่ม 1 พัฒนาการวิจัยระดับแนวหน้าของโลก

 บุคลากร

  นักศึกษา

1) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


            


 
2) สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์





3) มหาวิทยาลัยขอนแก่น





4) มหาวิทยาลัยมหิดล





5) มหาวิทยาลัยศิลปากร





6) มหาวิทยาลัยนเรศวร





7) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





8) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์





กลุ่ม 2 พัฒนาเทคโนโลยี
และส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม

 บุคลากร

  นักศึกษา

1) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ


            


          
2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก


3) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ


4) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


5) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา


6) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


7) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน


8) มหาวิทยาลัยบูรพา


9) มหาวิทยาลัยทักษิณ


10) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์


11) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


12) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ




กลุ่ม 3 กลุ่มพัฒนาชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนอื่น

 บุคลากร

  นักศึกษา

1) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่


            


          
2) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์


            


          
3) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์


            


          
4) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี


            


          
5) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์


            


          
6) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด


            


          
7) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย


            


          
8) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร


            


          

กลุ่ม 5 กลุ่มผลิตและพัฒนาบุคลากรวิชาชีพและสาขาจำเพาะ

 บุคลากร

  นักศึกษา

1) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี


            


          
2) มหาวิทยาลัยรามคำแหง


            


          

กลุ่มที่ไม่ได้อยู่ภายใต้ 5 ประเภท
(ร่วมโครงการ Happy University)
 

 บุคลากร

  นักศึกษา

1)  มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่


            


          
2) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


            


          
3) มหาวิทยาลัยพายัพ


            


          
2.4 ระยะเวลาการสำรวจในแต่ละรอบ

ระยะที่ 1
ปี 2556 – 2559

จำนวนมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการสำรวจ 12 แห่ง

จำนวนบุคลากรตอบแบบสำรวจ 19,756 คน

ระยะที่ 2 
ปี 2559 – 2562

จำนวนมหาวิทยาลัย
ที่เข้าร่วมการสำรวจ 29 แห่ง

จำนวนบุคลากรตอบแบบสำรวจ 21,344 คน

ระยะที่ 3 ปี 2563 – 2565

สำรวจบุคลากร

จำนวนมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการสำรวจ 32 แห่ง

จำนวนบุคลากรตอบแบบสำรวจ
14,441 คน

สำรวจนิสิตนักศึกษา

จำนวนมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการสำรวจ 41 แห่ง

จำนวนบุคลากรตอบแบบสำรวจ
  32,457 คน


ระยะที่ 4
ปี 2565 – 2568 
กำลังดำเนินการสำรวจ

2.5 เครื่องมือที่ใช้สำรวจ HAPPINOMETER


  เครื่องมือแฮปปีโนมิเตอร์ (HAPPINOMETER) 

     แฮปปีโนมิเตอร์ (HAPPINOMETER) คือ มิเตอร์ความสุข เป็นเครื่องมือวัดสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีที่บุคคลสามารถด้วยตนเอง เป็นตัวช่วยเสมือนการใช้ปรอทมาวัดความรู้สึกและประสบการณ์ ที่สะท้อนจากมิติคุณภาพชีวิตและความสุขของตนเอง สามารถใช้วัดสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนทำงานและนิสิต-นักศึกษา รวมถึง คนวัยทำงานในองค์กรทุกภาคส่วน รวมทั้งบุคคลทั่วไป และสามารถทราบค่าคะแนนเฉลี่ยสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของตนเอง รวมถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของบุคคลเป็นภาพรวมในระดับองค์กรและระดับประเทศ

  ประโยชน์ของ HAPPINOMETER

 01

บุคคล หรือผู้บริหารองค์กร สามารถนำผลที่ได้ มาวางแผนและดำเนินการ บริหารจัดการความสุขของตนเอง หรือคนในองค์กรในทุกระดับ ได้อย่างถูกจุดและถูกใจ

02

บุคคลหรือองค์กร สามารถใช้ HAPPINOMETER เป็นเครื่องมือในการสำรวจ ติดตาม ประเมินผล สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของบุคลากรในองค์กรหรือของตนเองได้เป็นเวลาปัจจุบัน (Real time) อย่างต่อเนื่อง เป็นระยะ ๆ

03

เป็นการติดตามประเมินผลความสำเร็จที่แสดงความรับผิดชอบ จัดการทรัพยากร วัดความสำเร็จ ปรับปรุงการดำเนินกิจกรรม/ แผน/ โครงการ โดยศึกษากระบวนการ นำทรัพยากรของโครงการ (Input) มาดำเนินงานในกิจกรรม (Process/Activity) เพื่อให้เกิดผลผลิต (output) และ ผลลัพธ์ (Outcome) ที่กำหนดเป้าหมายความสำเร็จพภายในระยะเวลาที่กำหนด และสามารถวัดผลกระทบ (Impact) ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงได้

  11 มิติ ของ HAPPINOMETER มีดังนี้ 

เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจ “มหาวิทยาลัยแห่งความสุข” คือ แบบสำรวจคุณภาพชีวิต ความสุข และความผูกพันในองค์กรของคนทำงานและนิสิต-นักศึกษา ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุม ดังนี้ 
ส่วนที่  01 : ข้อมูลองค์กรส่วนที่  02 : : ข้อมูลทั่วไป
ส่วนที่  03 : : ข้อมูลสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดี (Health and Well-Being) โดยแบ่งเป็น 9 มิติ ดังนี้

สุขภาพกายดี (Happy Body)


ผ่อนคลายดี (Happy Relax) (สำหรับบุคลากร)หรือ สุขภาพจิตดี (Happy Mind) (สำหรับนิสิต-นักศึกษา)


น้ำใจดี (Happy Heart)


จิตวิญญาณดี (Happy Soul)

ครอบครัวดี (Happy Family)

สังคมดี (Happy Society)

ใฝ่รู้ดี (Happy Brain)

สุขภาพเงินดี (Happy Money)

การงานดี (Happy Work Life: Happy Plus)

ส่วนที่  04 : ความผูกพัน (Engagement) (มิติที่ 10)

ส่วนที่  05 : : สมดุลชีวิตระหว่างและการทำงาน (Work-Life Balance) (มิติที่ 11)

ส่วนที่  06 : ภาวะผู้นำ (Leadership)ส่วนที่  07 : ผลิตภาพ (Productivity)


  เกณฑ์ค่าคะแนนเฉลี่ย มีคะแนนเต็ม 100 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

Very Unhappy คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 24.99

สะท้อนให้เห็นว่า บุคลากรในองค์กรของท่าน “ไม่มีสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขเลย” หรือ “มีสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขระดับน้อยที่สุด” ตัวท่านเองและผู้บริหารต้องร่วมมือกัน ดำเนินการพัฒนาสร้างเสริมความสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขอย่างเร่งด่วน


Unhappy คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 25.00 – 49.99

สะท้อนให้เห็นว่า บุคลากรในองค์กรของท่าน “ไม่มีสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขเลย” หรือ “มีสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขระดับน้อยที่สุด” ตัวท่านเองและผู้บริหารต้องร่วมมือกัน ดำเนินการพัฒนาสร้างเสริมความสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขอย่างเร่งด่วน


Happy คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 50.00 – 74.99

สะท้อนให้เห็นว่า บุคลากรในองค์กรของท่านมี “สุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขระดับมาก” ตัวท่านเองและผู้บริหารต้องร่วมมือกัน สร้างเสริมและสนับสนุนให้มีสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขยิ่งขึ้นต่อไป


Very Happy คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 75.00 – 100

สะท้อนให้เห็นว่า บุคลากรในองค์กรของท่านมี “สุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขระดับมากที่สุด” ตัวท่านเองและผู้บริหารต้องร่วมมือกัน สร้างเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกคนมีสุขภาวะและความอยู่ดีมีสุขอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน รวมทั้งร่วมมือกันสร้างเสริมให้เป็น “องค์กรต้นแบบสร้างสุขสู่องค์กรสุขภาวะ” เพื่อเป็นแบบอย่าง “องค์กรที่มีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)”

อ้างอิง ข้อมูลจาก (ร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย) มหาวิทยาลัยแห่งความสุข (Happy University Policy) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2568 – 2570 

ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2567

2.6 คู่มือสำหรับผู้ใช้งานฐานข้อมูล